1. จากจุฬาฯ สู่บางขวาง บันทึกเดือนตุลาฯ
Kledthai. สติ๊dเกอร์รูปแผนที่สําหรับผู้เริ่มต้นเรียน. ศาสตร์แห่งการจําและศิลปะแห่งการลืม. ขุนศึก ศักดินา และพญาอินทรี. wings of fire graphic novel. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ. หนังสือ จากจุฬาฯ สู่บางขวาง: บันทึกเดือนตุลาฯ. ผู้แต่ง: ศ. คร. สุรชาติ บํารุงสุข. ผู้แปล: พิมพ์ครั้งที่: 1 ตุลาคม 2564. สํานักพิมพ์: สํานักนิสิตสามย่าน. ขนาด ยxกxส: 22*15*2. น้ําหนัก. kg. 0.38. จํานวน. 258. หน้า. ISBN: 9786168209486. ราคา. 300. บาท. หมวด สังคม การเมือง. จากจุฬาฯ สู่บางขวาง เป็นหนังสือที่จะให้ผู้อ่านได้เรียนรู้และเข้าถึงประสบการณ์โดยตรง. ตลอดการเดินทางตั้งแต่ก่อนเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 จนถึงช่วงจําคุกอยู่ที่เรือนจําบางขวางของผู้เขียน. อีกทั้งยังให้ข้อคิดเปรียบเทียบกับเหตุการณ์การเคลื่อนไหวทางการเมืองที่ยังคงต่อสู้กับระบอบอํานาจนิยมในปัจจุบันหนังสือเล่มนี้ ยังแสดงให้เห็นถึงกระแสการตื่นตัวทางการเมืองและสังคมของนิสิตและนักศึกษาในสมัยนั้น. ตั้งแต่การต่อต้านระบบโซตัสในมหาวิทยาลัย กิจกรรมสายลมแสงแดด จนถึงการออกต่างจังหวัดเพื่อเข้าใจความยากลําบากของแรงงานผู้ถูกกดขี่ทางเศรษฐกิจ. และก่อตั้งขบวนการนิสิตนักศึกษาเรียกร้องประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญต่อรัฐบาลเมื่อปี. 2512อย่างไรก็ตาม ภาพการกบฏต่อต้านรุ่นพี่ในคณะไปจนถึงการต่อต้านรัฐในระดับประเทศ. ยังคงเป็นภาพเหตุการณ์ที่ย้อนกลับมาให้เห็นอีกครั้งในปัจจุบัน. สารบัญ. เกริ่นนํา. รําลึกสงครามแห่งเดือนตุลาคม. โหมโรง. ขบวนคนหนุ่มสาว 1968. บทนํา. ตอนที่ 1.1)จากทุ่งพญาไทสู่ทุ่งสามย่าน. 2)สู่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย. 3)จากสามย่านสู่ลานโพธิ์. 4)ชัยชนะของความเปลี่ยนแปลง. 5)ความฝันใหญ่จากถนนราชดําเนิน. 6)ยุคแห่งการแสวงหา. 7)โซตัสปะทะประชาธิปไตย. 8)จากจุฬาฯ. สู่ท้องนาและโรงงาน. 9)จากโรงงานสู่ฐานทัพอเมริกัน. 10)ยุคต่อต้านจักรวรรดินิยม. 11)โดมิโนและความหวาดกลัว. 12)สังคมนิยมขึ้นสู่กระแสสูง. 13)สงคราม ความกลัว ความตาย. 14)เมื่อกระแสขวาร้อนแรง. 15)ฐานทัพต้องออกไป. 16)ขวาไทย-ฐานทัพฝรั่ง. 17)ชัยชนะของพรรคจุฬาประชาชน. 18)กระแสลมขวาจัดพัดแรง. 19)เวลาที่รอคอยของฝ่ายขวา. 20)โลกแห่งความหวังของฝ่ายขวา. 21)ค่ําคืนอันยาวนาน. 22)ทุ่งสังหารกลางเมืองหลวง. 23)ฆ่าคอมมิวนิสต์ไม่บาป. 24)มหาวิทยาลัยแห่งบางขวาง. 25)รําลึกแพทริเซีย เดเรียน. 26)แด่คุณป้าฉลบชลัยย์. พลางกูร. 27)รุ่งอรุณแห่งอิสรภาพ. 28)สิ้นสงครามปฏิวัติ. ตอนที่ 2.1)รําลึกพลเอกฉลาด หิรัญศิริ. 2)เส้นทางการเมืองพลเอกฉลาด. 3)เส้นทางสู่ความพ่ายแพ้. 4)เดิมพันชีวิตและคําสัญญาสุดท้าย. 5)21 วันสุดท้ายแห่งชีวิต. 6)ชีวิตของทหารกบฏ. 7)ชีวิตในวิทยาลัยบางขวาง. 8)วันเวลาแห่งการรอคอย. 9)อิสรภาพและรัฐประหารของยังเติร์ก. ข้อคิดท้ายบท. 1)ความเกลียดชังทางการเมือง. 2)เดือนตุลาไม่เคยจบมนสังคมไทย. 3)6 ตุลาฯ ยุคดิจิทัล. ประวัติผู้เขียน. ประวัติบรรณธิการ